ตัวอย่างแบบประเมินหลักสูตรเภสัชศาสตร์

แบบประเมินเพื่อเห็นชอบหลักสูตรเภสัชศาสตร์
สภาเภสัชกรรม

1. สถาบัน........................................................................................................................................
2. หลักสูตรที่ขอประเมิน (ชื่อหลักสูตร ปริญญาและคำย่อ ไทย/อังกฤษ)
ชื่อหลักสูตร (ไทย)…………………………………………………………………………………
ชื่อหลักสูตร (อังกฤษ) ..................................................................……………………………
ชื่อปริญญา/คำย่อ (ไทย)……………………………………………………………………………
ชื่อปริญญา/คำย่อ (อังกฤษ) ..................................................................………………………
3. ผู้แทนของสถาบันที่ให้ข้อมูล
1…………………………………………….(ตำแหน่ง)……………………………………………...
2…………………………………………….(ตำแหน่ง)……………………………………………...
3…………………………………………….(ตำแหน่ง)……………………………………………...
4…………………………………………….(ตำแหน่ง)……………………………………………...
5…………………………………………….(ตำแหน่ง)……………………………………………...
4. คณะอนุกรรมการประเมินสถาบันและหลักสูตรเภสัชศาสตร์ ผู้ประเมิน
1. ........................................................................................................................................
2. ..........................................................................................................................................
3............................................................................................................................................
4. ..........................................................................................................................................
5. ..........................................................................................................................................
6. ...........................................................................................................................................
7. ...........................................................................................................................................
5. วันที่ประเมิน
ตั้งแต่วันที่................เดือน.........................................พ.ศ..........................
ถึงวันที่....................เดือน.........................................พ.ศ..........................




องค์ประกอบและรายละเอียดสำหรับการประเมิน
ที่
องค์ประกอบ
ดัชนี
มี
(ใช่)
ไม่มี
(ไม่ใช่)
หมายเหตุ หรือเอกสารหรือหลักฐาน หรือเหตุผลสนับสนุน

กรอบหลักสูตร
สภาเภสัชกรรมจะพิจารณารับรองเฉพาะปริญญาเพื่อประโยชน์ในการสมัครเป็นสมาชิกที่เกิดจากหลักสูตรที่มีมาตรฐานตามหลักเกณฑ์ของหลักสูตร 6 ปี




เงื่อนไขการเสนอหลักสูตร
คณะที่เปิดสอนสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ จะต้องเสนอหลักสูตรให้สภาเภสัชกรรมให้ความเห็นชอบก่อนที่จะเปิดรับสมัครนิสิต/นักศึกษา อย่างน้อย 180 วัน




ปรัชญาหลักสูตร
1) ระบุเป็นลายลักษณ์อักษรและชัดเจน



2) สอดคล้องกับปรัชญาของหน่วยงานต้นสังกัด



วัตถุประสงค์หลักสูตร
1) ระบุเป็นลายลักษณ์อักษรและชัดเจน ครอบคลุมด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย



2) สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรมและ พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ 2542 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม



3) สอดคล้องกับปรัชญาหลักสูตร



โครงสร้างหลักสูตรและเนื้อหาสาระ
1) จำนวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 220 หน่วยกิต



2) โครงสร้างของหลักสูตรมีความสอดคล้องกับปรัชญาและวัตถุประสงค์



3) เนื้อหาสาระของรายวิชาในหลักสูตรสอดคล้องกับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร



5.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
1) หน่วยกิตรวม ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต



2) ครอบคลุมสาระ กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์มนุษยศาสตร์ ภาษา วิทยาศาสตร์ และ
คณิตศาสตร์ ด้วยสัดส่วนที่เหมาะสมทั้ง
หน่วยกิตและเนื้อหา หรือเป็นไปตามระเบียบตามที่ สกอ.กำหนด



5.2 หมวดวิชาเฉพาะ
1) หน่วยกิตรวม ไม่น้อยกว่า 144 หน่วยกิต






ที่
องค์ประกอบ
ดัชนี
มี
(ใช่)
ไม่มี
(ไม่ใช่)
หมายเหตุ หรือเอกสารหรือหลักฐาน หรือเหตุผลสนับสนุน


2) มีรายวิชาที่เกี่ยวกับการวิจัยของนิสิต/นักศึกษา (Senior Project) ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต



3) ระดับพื้นฐานวิชาชีพ
3.1) ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
3.2) ประกอบด้วยวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่เป็นพื้นฐานวิชาชีพ
3.3) มีวิชาที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่การทำงานของร่างกายและจิตใจของมนุษย์ สาเหตุและกลไกการเกิดโรค พยาธิสภาพ พยาธิสรีรของโรค แนวทางการศึกษาและการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ



4) ระดับวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 114 หน่วยกิต
4.1) กลุ่มวิชาทางด้านผลิตภัณฑ์
(1) มีเนื้อหารายวิชาทางเภสัชศาสตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับตัวยา เคมีภัณฑ์ สารสกัดสมุนไพรและชีววัตถุต่างๆ ที่นำมาใช้เป็นยา วิทยาศาสตร์และวิทยาการของยา การผลิตและประดิษฐ์ยา การประกันคุณภาพ ชีวสมมูลย์ กระบวนการเก็บรักษาและกระจายยา การวิจัยพัฒนาอุตสาหกรรมยา และวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
(2) จำนวนไม่น้อยกว่า 35 หน่วยกิต หรือไม่น้อยกว่าร้อยละ 25ของจำนวนหน่วยกิตรายวิชาทางวิชาชีพเภสัชศาสตร์ที่ศึกษาในหลักสูตร
4.2) กลุ่มวิชาทางด้านผู้ป่วย
(1) มีเนื้อหารายวิชาทางเภสัชศาสตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับ การใช้ยาในผู้ป่วย ฤทธิ์และพิษของยา การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล อาการอันไม่พึงประสงค์ที่เกี่ยวกับยา รวมทั้งระบบการรายงานเภสัชจลน ศาสตร์ และวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง




องค์ประกอบ
ดัชนี
มี
(ใช่)
ไม่มี
(ไม่ใช่)
หมายเหตุ หรือเอกสารหรือหลักฐาน หรือเหตุผลสนับสนุน

(2) จำนวนไม่น้อยกว่า 42 หน่วยกิต หรือไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของจำนวนหน่วยกิต รายวิชาทาง วิชาชีพเภสัชศาสตร์ที่ศึกษาในหลักสูตร
4.3) กลุ่มวิชาทางด้านเภสัชศาสตร์สังคมและการบริหารเภสัชกิจ
(1) มีเนื้อหารายวิชาเกี่ยวข้องทางด้านนโยบายยาและสุขภาพ แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ แผนพัฒนาระบบยา แผนพัฒนาวิชาชีพเภสัชกรรม การบริหารจัดการระบบยา การคุ้มครองผู้บริโภค สาธารณสุข เภสัชสาธารณสุข การสร้างเสริมสุขภาพ เภสัชเศรษฐ ศาสตร์และระบาดวิทยาทางยา กฎหมาย และจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ และวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
(2) จำนวนไม่น้อยกว่า 14 หน่วยกิต หรือไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ของจำนวนหน่วยกิตรายวิชาทางวิชาชีพเภสัชศาสตร์ที่ศึกษาในหลักสูตร



5.3 หมวดการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ
1) มีการฝึกงานรวมแล้วไม่น้อยกว่า 2,000 ชั่วโมง




2) มีการฝึกงานวิชาชีพภาคบังคับ(โรงพยาบาล และร้านยา) ไม่น้อยกว่า 400 ชั่วโมง




3) มีการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาที่มุ่งเน้น ไม่น้อยกว่า 1,600 ชั่วโมง ทั้งนี้ควรให้มีการฝึกงานด้านการผลิตยา และ/หรือการควบคุม/การประกันคุณภาพ และหรือการวิจัยและการพัฒนา ทั้งนี้ ครอบคลุมรวมถึงผลิตภัณฑ์สุขภาพอื่น และ/หรือการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง




4) คณะต้องมีการเตรียมความพร้อมและเครื่องมือ โดยมีแหล่งฝึกตามมาตรฐานที่สภาเภสัชกรรมกำหนด




ที่
องค์ประกอบ
ดัชนี
มี
(ใช่)
ไม่มี
(ไม่ใช่)
หมายเหตุ หรือเอกสารหรือหลักฐาน หรือเหตุผลสนับสนุน

5.4 หมวดวิชาเลือกเสรี
จำนวนหน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต




6
การคิดหน่วยกิต
1 หนึ่งหน่วยกิตในระบบทวิภาค
1) ภาคทฤษฎี บรรยาย / อภิปราย / สัมมนา
ไม่น้อยกว่า 15 ชม. /ภาคการศึกษา



2) ภาคปฏิบัติ ในห้องปฏิบัติการ ฝึกหรือ
ทดลองในห้องปฏิบัติการ ไม่น้อยกว่า 30 ชม./ภาคการศึกษา



3) การฝึกปฏิบัติงาน กำหนด 45-70 ชั่วโมงต่อหน่วยกิต



4) กรณีจัดการศึกษาระบบอื่นให้เทียบกับ
ระบบทวิภาค
1 หน่วยกิตไตรภาค = 12/15 ทวิภาค หรือ 5 หน่วยกิตไตรภาค = 4 หน่วยกิตทวิภาค



7
แผนการศึกษา
1) ระบุแผนการจัดการศึกษาทุกรายวิชาตลอดหลักสูตร



2) จำนวนชั่วโมงเรียน/สัปดาห์ ไม่เกิน 35 ชม.



3) การจัดลำดับรายวิชาตลอดหลักสูตรเหมาะสม



8
การรับนิสิต/นักศึกษา
มีเกณฑ์การคัดเลือกนิสิต/นักศึกษาที่เป็นมาตรฐาน โดยเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถ และมีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย และจิตใจตลอดจนเจตคติที่ดีที่จะประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม



9
การลงทะเบียน
หลักสูตรเต็มเวลา
ภาคปกติ ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และ
ไม่เกิน 22 หน่วยกิต / ภาคการศึกษา
ภาคฤดูร้อน ไม่เกิน 10 หน่วยกิต / ภาคการศึกษา



10
ระยะเวลาศึกษา
สำเร็จได้ ไม่ก่อน 5 ½ ปีการศึกษา และ
อย่างมากไม่เกิน 12 ปีการศึกษา หรือ
เป็นไปตามระเบียบการจัดการศึกษาของ
คณะ





ที่
องค์ประกอบ
ดัชนี
มี
(ใช่)
ไม่มี
(ไม่ใช่)
หมายเหตุ หรือเอกสารหรือหลักฐาน หรือเหตุผลสนับสนุน
11
การจัดการเรียนการสอนและการประเมินผล
1) การจัดการเรียนการสอนสอดคล้องกับพระราช บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ตามหลักการที่เน้นผู้เรียนสำคัญที่สุด



2) ใช้รูปแบบและวิธีการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมและหลากหลาย ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ และประสบการณ์จริง



3) จัดให้มีการประเมินผลนิสิต/นักศึกษาด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลายและสอดคล้องกับจุดประสงค์การศึกษา



12
การจัดทำประมวลรายวิชา (Course Syllabus)
จัดทำประมวลรายวิชา (Course Syllabus) ทุกรายวิชาของหลักสูตร ประกอบด้วยวัตถุประสงค์ เนื้อหา แนวสังเขปวิชาโดยสังเขป การจัดประสบ การณ์การเรียนรู้ และการประเมินผล



13
การจัดทำระเบียบและข้อบังคับว่าด้วยการจัดการศึกษาการประเมินผลและการตัดสินผล
จัดทำระเบียบและข้อบังคับว่าด้วยการจัดการศึกษา การประเมินผล และการตัดสินผลไว้ให้ชัดเจน และสอดคล้องกับหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา



14
เกณฑ์วัดผลและสำเร็จการศึกษา
เรียนครบถ้วนตามจำนวนหน่วยหน่วยกิตที่กำหนดโดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร (GPA) ไม่น้อยกว่า 2.00 จากระบบ 4 แต้มระดับคะแนน



15
การประเมินและการปรับปรุงหลักสูตร
1) กำหนดให้มีการประเมินและการปรับปรุง
หลักสูตรทุกระดับอย่างสม่ำเสมอ โดยอาศัยข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เช่น อาจารย์ นิสิต/นักศึกษา บัณฑิต ผู้ใช้บัณฑิต ฯลฯ



2) ในกรณีที่มีการปรับปรุงโครงสร้างของหลักสูตร มหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษาจะต้องได้รับอนุมัติจากสภาเภสัชกรรมก่อนเปิดการเรียนการสอน




ผลการพิจารณาเห็นชอบ ต้อง “มี” ทุกข้อตามเกณฑ์

แผนภูมิแสดงขั้นตอนการเสนอหลักสูตร
คณะเภสัชศาสตร์ / สถาบันการศึกษาร่างหลักสูตร
สกอ.*
สภา เภสัชกรรม

สถาบัน
สภามหาวิทยาลัย

ให้ความเห็นชอบ




สกอ.* หมายถึง สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น